สัตว์ในเขตทุนดรา ความแตกต่างในพื้นที่แห่งความเหน็บหนาว

สัตว์ในเขตทุนดรา-พื้นที่ธรรมชาติที่รายล้อมด้วยเหน็บหนาว-

เขตทุนดราที่หนาวเหน็บ มีอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง หิมะปกคลุมเกือบตลอดปี ไม่เว้นแม้แต่ในฤดูร้อน ที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส เนื่องด้วยอากาศที่หนาวเย็น ทำให้ค่อนข้างขาดแคลนอาหาร อีกทั้งในดินมีธาตุอาหารไม่เพียงพอ จึงไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตของพืช ทำให้มีอายุสั้น แต่ถึงแม้สภาพแวดล้อมจะไม่เหมาะแก่การดำรงชีวิต สัตว์ในเขตทุนดรา การปรับตัว เพื่อความอยู่รอดท่ามกลางอุปสรรคที่พบเจอในพื้นที่เขตทุนดรา เช่น ในฤดูหนาวสัตว์จะจำศีล เพื่อให้ร่างกายได้หยุดพักผ่อน และถนอมพลังงานในร่างกายให้มากที่สุด เนื่องจากสภาพอากาศที่หนาวเหน็บไม่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิต ส่วนพืชก็หยุดชะงักการเจริญเติบโตเช่นกัน

สัตว์ในเขตทุนดรา ความแตกต่างที่น่าค้นหา

สัตว์ในเขตทุนดรามีการปรับตัวให้กับสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยหิมะ อย่างการมีขนที่หนา หรือมีชั้นไขมันใต้ผิวหนัง เพื่อทนทานต่อสภาพอากาศที่หนาวเหน็บ บางชนิดมีขนสีอ่อน เพื่อใช้ในการพรางตัวเข้ากับหิมะ ประเภทของสัตว์ที่พบ มีเพียงไม่กี่ชนิด เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ปีก และแมลง ในฤดูร้อนจะสามารถพบสัตว์ได้หลากหลายกว่าในฤดูหนาว เขตทุนดราอาจจะไม่ได้มีความหลากหลายทางชีวภาพเทียบเท่ากับเขตพื้นที่อื่นๆ สัตว์ในเขตทุนดรา มีเอกลักษณ์ที่แตกต่าง จากที่อื่นเช่นกัน

สัตว์ในเขตทุนดรา-พื้นที่ธรรมชาติที่รายล้อมด้วยเหน็บหนาว-

กวางเรนเดียร์

เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่ นิสัยดุร้าย แข็งแรง และชินกับสภาพอากาศที่หนาวเย็น ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาล แต่ในฤดูหนาวจะมีสีที่อ่อนลง หรือกลายเป็นสีขาว กวางเรนเดียร์จัดว่าเป็นกวางที่มีเขาขนาดใหญ่ที่สุดในโลก อีกทั้งยังมีกีบเท้าแยกออกเป็น 2 ง่าม ใช้สำหรับว่ายน้ำ

สัตว์ในเขตทุนดรา-พื้นที่ธรรมชาติที่รายล้อมด้วยเหน็บหนาว-

หมีขาว

เป็นสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในซีกโลกนี้ มีจุดเด่นคือมีขนสีขาวครีม เพื่อใช้ในการพรางตัวสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยหิมะ มีลำคอที่ยาว ใบหูเล็ก และอุ้งมือขนาดใหญ่ที่มีขนรอง ช่วยให้ไม่ลื่นไถลบนพื้นน้ำแข็ง

สัตว์ในเขตทุนดรา-พื้นที่ธรรมชาติที่รายล้อมด้วยเหน็บหนาว-

นกเค้าแมวหิมะ

เป็นนกเค้าแมวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก มีขนตามลำตัวเป็นสีขาวลายจุดสีดำ พบกระจายพันธุ์ในแถบซีกโลกทางตอนเหนือ ช่วงฤดูหนาวจะอพยพหลบความหนาวไปทางภูมิภาคตอนใต้ สัตว์ในเขตทุนดรา เอกลักษณ์ที่แตกต่าง จากนกเค้าแมวชนิดอื่นๆที่จะออกหากินในเวลากลางวัน แต่นกเค้าแมวหิมะมักจะตื่นตัว และออกหากินเวลากลางวัน

สัตว์ในเขตทุนดรา-พื้นที่ธรรมชาติที่รายล้อมด้วยเหน็บหนาว-

วัวมัสก์

เป็นสัตว์ใหญ่เพียงไม่กี่ชนิดที่สามารถดำรงชีวิตอยู่ในเขตที่มีอากาศหนาวเย็นได้ตลอดทั้งปี มีร่างกายปกคลุมด้วยขนยาวหนาสีน้ำตาล หรือสีดำ สัตว์ในเขตทุนดรา การปรับตัว ที่สามารถอยู่รอดได้ในสภาพแวดล้อมเช่นนี้ เมื่อถึงฤดูร้อนจะมีการลอกคราบ ขนสั้นลง แต่ฤดูหนาว ขนก็จะกลับมายาวอีกครั้ง

สัตว์ในเขตทุนดรา มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพอากาศ จึงทำให้ความหนาวเย็นไม่ใช่อุปสรรคต่อการใช้ชีวิตของสัตว์ในเขตพื้นที่แห่งนี้ เขตทุนดรามีความหลากหลายทางชีวภาพต่ำ เนื่องจากอุณหภูมิที่เย็นจัด ทำให้เราสามารถเห็นได้ชัดถึง สัตว์ในเขตทุนดรา มีลักษณะเฉพาะ ที่เป็นการปรับตัวเพื่อเอาตัวรอด

 

 

 

สนับสนุนโดย : 

https://sa-game.bet/สมัครบาคาร่า888/ เว็บบาคาร่าและคาสิโนออนไลน์ที่ดีที่สุด พร้อมโปรโมชั่น2022 ฝากถอนออโต้ไม่มีขั้นต่ำ