สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก ความพิศวงของสัตว์เขตน้ำลึก

สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก

ขณะนี้เรายังสำรวจท้องทะเลลึกทั้งหมดเพียงแค่ 1% ของท้องทะเลลึกทั้งหมด ดังนั้นท้องทะเลเป็นบริเวณที่ที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ให้บางบริเวณบางพื้นที่ที่เรายังไม่สำรวจอาจจะมีสิ่งลี้ลับอะไรสักอย่างรอเราอยู่ก็เป็นได้ พูดถึงน้ำลึกเราจะนึกถึงบริเวณที่แสงสว่างส่องลงไปไม่ถึงทำให้บรรยายใต้ท้องทะเลนั้นเต็มไปด้วยความมืดมิด แต่สงสัยกันไหมว่าจะมีสิ่งมีชีวิตที่ไหนอาศัยได้ ถ้าปราศจากแสงสว่าง แน่นอนว่าธรรมชาติมันโหดร้ายเกินที่จะให้สิ่งมีชีวิตทุกตัวอยู่รอดได้ในสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ดังนั้นสัตว์หลายๆชนิดจึงต้องพากันปรับตัว มีการวิวัฒนาการ จึงทำให้ทุก ๆ วันนี้เหล่าสัตว์น้ำลึกพวกนี้ต้องดิ้นรนทำการปรับตัวกันเพื่อความอยู่รอดทำให้มันกลายเป็น สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก มีรูปพรรณสัณฐานที่โดดเด่นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ใต้ท้องทะเลอันมืดมิดนี้ก็เช่นกัน ปรับตัวให้อยู่กับสิ่งที่พวกมันต้องเผชิญกับอุปสรรคที่หนักยิ่งอย่างใหญ่หลวงไม่ว่าจะเป็น ความมืดมิด อุณหภูมิที่ต่ำมาก ความดันที่มีค่าเยอะมาก สามารถอัดวัตถุให้มีขนาดเล็กลงได้ ด้วยแรงดันที่มหาศาล ทำให้สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก ใต้ท้องทะเลต้องมีการปรับตัวให้สามารถอยู่กับสภาพแวดล้อมแบบนี้ได้อย่างปลอดภัย

สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก ที่น่าหลงใหล ชวนน่าค้นหา 

บางคนมักมอง สัตว์ทะเลลึกหาได้ยากว่าพวกมันมีความน่ากลัว น่าขนลุก ทำให้ปลาบางชนิดต้องมีการปรับตัว จึงทำให้ สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก ลักษณะทั่วไป ในสายตาของเราชาวโลก ดังนั้นปลาพวกนี้นิยมกินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กกว่าตัวมันเอง พวกมันยังมีขากรรไกรขนาดใหญ่ ยาว ทำให้พวกมันสามารถหาอาหารได้ในระยะไกลกว่าตัวได้ ปลาบางชนิดมีการขยายท้องเพื่อที่จะสามารถกินเหยื่อที่มีขนาดใหญ่กว่าตัวมันเองได้ สิ่งมีชีวิตส่วนมากมักเป็น ดอกไม้ทะเล ปลิงทะเล กุ้ง ดาว ปู ปลาที่มีการเรืองแสง ที่พวกมันต้องมีไฟเรืองแสง เพื่อทำการล่อเหยื่อให้มาหาพวกมัน เกิดจากปฏิกิริยาเคมีทางร่างกาย

ปลาฉลามก็อบลิน สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก

ปลาฉลามก็อบลิน

มีความยาวเต็มที่ได้ 3 หรือ 4 เมตรพบชุกชุมที่โตเกียวแคนยอน ปกติแล้วมีลำตัวและครีบสีขาว เมื่อถูกจับขึ้นมาจากน้ำทำให้ลำตัวของพวกมันกลายเป็นสีแดง สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก มีรูปพรรณสัณฐานที่โดดเด่น พวกมันจะมีบริเวณหัวด้านบนเป็นส่วนกระดูกที่ยื่นออกมา ช่วงล่างประกอบไปด้วยอวัยวะเล็ก ๆ หลายร้อยอันที่ทำหน้าที่เหมือนเป็นเซนเซอร์ตรวจจับคลื่นไฟฟ้าของเหล่าสิ่งชีวิต เพื่อหาอาหาร อาหารของมันคือ จำพวกปู หรือสัตว์น้ำต่าง ๆ ที่หลบซ่อนตัวใต้พื้นโคลน

ปลาคิเมียรา หรือฉลามผี สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก

ปลาคิเมียรา หรือฉลามผี

จัดเป็นปลากระดูกอ่อน ดังนั้นช่องเหงือก จะสามารถเห็นได้ชัดเจน มีลำตัวและหัวที่มีขนาดใหญ่ มีช่องเปิดเหงือกช่องเดียวในช่วงโตเต็มวัย ผิวหนังที่เรียบเนียนสีน้ำตาลไปจนถึงสีเทา มีครีบหลังกระดูกอ่อน มีการปฏิสนธิภายใน และการวางไข่แบบมีถุงหุ้มไข่รวมไปถึงการล่าเหยื่อโดยใช้ประสาทสัมผัสทางไฟฟ้า

ปลาไวเปอร์ สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก

ปลาไวเปอร์

ส่วนมากมีลำตัวยาว สีดำสนิท ลักษณะฟันเสมือนเข็มยาวมีความคม ขากรรไกรบานพับ เป็นนักล่าขนาดย่อม ไม่ได้มีขนาดใหญ่นั้นเอง มีขนาดประมาณ 30-60 เซนติเมตร มันจะมีเรืองแสงเป็นจุด ๆ เป็นลายไปตามท้องของตัวมันเอง อายุขัยของพวกมันเฉลี่ย 15-30 ปี ทักษะการล่าเหยื่อจะใช้ความนิ่ง ใช้สีที่ดำสนิททำให้มีความกลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อม เมื่อมันพบเหยื่อพวกมันจะทำการงับเหยื่อทันที ด้วยฟันที่แหลมคม

ปลาขวาน สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก

ปลาขวาน

มีลักษณะคล้ายกับขวานได้ชัดเจน ลำตัวบางลักษณะคล้ายใบมีดขวาน สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก มีรูปพรรณสัณฐานที่โดดเด่น มีการสร้างแสงของตัวเองได้ด้วย เรียกว่าก้อนเรืองแสงของสิ่งมีชีวิต โดยตรงบริเวณขวานมีอวัยวะพิเศษ ที่เรียกเซลล์เรืองแสงสามารถผลิตสารเรืองแสงได้ด้วยตัวเอง ปลาขวานยังสามารถปรับแสงในตัวได้เองอีกด้วย วงจรของพวกมันสั้นไม่ถึง 1 ปี อาหารของพวกมันคือพวกแพลงก์ตอนรวมไปถึงปลาขนาดเล็ก พบปลาขวานในแถบน้ำเย็นที่มีความลึก

สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก จะเห็นได้ว่าลักษณะของ สัตว์น้ำลึกที่หาได้ยาก สัญชาตญาณพิเศษ ในตัวส่วนใหญ่จะเน้นไปที่ สัตว์พวกนี้มีความสามารถในการผลิตสารเรืองแสงในตัวเองได้ ที่ต้องมีการปรับตัวแบบนี้ก็เพื่อการอยู่รอด และป้องกันตัวเองจากอันตราย

 

 

 

สนับสนุนโดย :

เว็บบาคาร่าที่คนเล่นเยอะที่สุดทำเงินด้วยมือถือ รองรับทุกระบบ ฝาก-ถอนออโต้ เว็บคาสิโนออนไลน์ที่ดีที่สุดในปี2022